E-Learning



ความรู้ทางทหาร

ชื่อผู้เขียนฮิต
เส้นทางสู่อาชีพทหารเขียนโดย KM.RTA8991
กฤษฎีกาฟันธงร.ร.นายร้อยสามเหล่าทัพเปิดรับตรง นร.จบ ม.6 ได้ไม่ต้องผ่าน“เตรียมทหาร”เขียนโดย KM.RTA7647
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ชกท.เขียนโดย KM.RTA6291
หลักสูตรทางทหารที่เข้ารับการฝึกสุดโหดของรบพิเศษไทย=หลักสูตรทหารแห่งชาติไทยเขียนโดย KM.RTA5483
ทหารหมวกแดงเขียนโดย KM.RTA2545
การอ่านแบบทหารอาชีพเขียนโดย KM.RTA2032
คู่มือความรู้ เรื่อง การเข้าใจ เข้าถึง พัฒนาแบตเตอรี่ ให้หน่วยใช้พึงพอใจเขียนโดย กผสป.สส1480
ประวัติโรงเรียนนายสิบทหารบกเขียนโดย KM.RTA1345
“กฎหมายที่ทหารต้องรู้”เขียนโดย สห.ทบ.1081
เรียนรู้ศัพท์ทางทหารเขียนโดย ศูนย์การเรียนรู้ กองพลทหารราบที่ 51076

แนวทางการปฏิบัติงาน


ชื่อผู้เขียนฮิต
วิสัยทัศน์ ทบ. ปี 2565เขียนโดย KM.RTA4526
คำปฏิญาณตนของทหารบกไทยเขียนโดย KM.RTA4065
พรบ.จัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.2551เขียนโดย กกพ.ทน.22467
มารยาทที่สำคัญทางทหารเขียนโดย KM.RTA2414
กระบวนการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ของศูนย์การเรียนรู้ (KM) กองทัพบกเขียนโดย พ.อ. นิพัฒน์ เล็กฉลาด1786
แนวทางการแก้ไขปัญหาความคับคั่งทางการศึกษาหลักสูตรตามแนวทาง รับราชการของกองทัพบก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเขียนโดย พ.อ.ฤทธี อินทราวุธ1595
วินัยทหารเขียนโดย KM.RTA1326
บทบาทหน้าที่และจุดยืนของ ทบ./กองทัพ ต่อสถานการณ์การชุมนุมเขียนโดย Super User1299
จอมพลสอนทหารเขียนโดย KM.RTA1076
IO กับการป้องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบ (ปปส.)เขียนโดย พ.อ.เกียรติชัย โอภาโส1052

บทเรียนจากกการปฏิบัติงาน


ชื่อผู้เขียนฮิต
เกร็ดความรู้เรื่องกฎอัยการศึกเขียนโดย KM.RTA3186
บทเรียนจากสมรภูมิรบบ้านร่มเกล้าเขียนโดย ศูนย์การศึกษา ม.พัน 28715
การดำเนินงานการฝึกสวนสนาม กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 6เขียนโดย นปอ.448
สงครามโลก บทเรียนสำหรับมนุษยชาติเขียนโดย กยก.ทน.2377

ความรู้ด้านวิชาชีพ

แสดง #  
ชื่อผู้เขียนฮิต
การปลูกพืชไร้ดิน (hydropoincs)เขียนโดย สิบเอก ศุภสิทธิ์ ชงัดเวช2279
ความรู้เกี่ยวกับการเข้ารับราชการทหารเขียนโดย กยก.ทน.2496
มาตรการเวชกรรมป้องกันโรคติดต่อในสุนัขทหารเขียนโดย กส.ทบ.459
การปักผังบริเวณก่อสร้างของ ยย.ทบ.เขียนโดย ยย.ทบ.431
รถเครื่องยนต์เบนซินรุ่นเก่าจะทำอย่างไรเมื่อยกเลิกน้ำมัน เบนซิน 91เขียนโดย ขส.ทบ.387
การดำเนินงานระบบเครือข่ายผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมและปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์เขียนโดย นปอ.340
การขอเปิดเดินรถไฟขบวนพิเศษเขียนโดย ขส.ทบ.330
การเตรียมลูกสุนัขให้พร้อมก่อนเข้าหลักสูตร ผบส.เขียนโดย กส.ทบ.284

ภูมิปัญญา

แสดง #  
ชื่อผู้เขียนฮิต
การทำ EM จากเศษผักผลไม้เขียนโดย ศูนย์การศึกษา ม.พัน 28774
ภูมิปัญญาท้องถิ่น : Popular Wisdomเขียนโดย กกร.ทน.2623
เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเขียนโดย KM.RTA571
เกษตรอินทรีย์เขียนโดย กส.ทบ.408
การบริหารทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืนเขียนโดย ศบบ.389

KM คือ

การจัดการความรู้
(Knowledge Management-KM)
การจัดการความรู้ หรือที่เรียกย่อๆ ว่า KM คือ เครื่องมือ เพื่อใช้ในการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 3
ประการไปพร้อมๆ กัน ได้แก่บรรลุเป้าหมายของงาน บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน และบรรลุเป้า
หมายการพัฒนาองค์กรไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ดังนั้นการจัดการความรู้จึงไม่ใช่เป้าหมาย
ในตัวของมันเอง เมื่อไรก็ตามที่มีการเข้าใจผิด เอาการจัดการความรู้เป็นเป้าหมาย ความผิดพลาด
ก็เริ่มเดินเข้ามา อันตรายที่จะเกิดตามมาคือ การจัดการความรู้เทียม หรือ ปลอม เป็นการดำเนินการ
เพียงเพื่อให้ได้ชื่อว่ามีการจัดการความรู้เท่านั้นเองแรงจูงใจในการริเริ่มการจัดการความรู้แรงจูงใจ
แท้ต่อการดำเนินการจัดการความรู้ คือ เป้าหมายที่งาน คน และองค์กร เป็นเงื่อนไขสำคัญ ในระดับ
ที่เป็นหัวใจสู่ความสำเร็จในการจัดการความรู้แรงจูงใจเทียมต่อการดำเนินการจัดการความรู้ในสังคม
ไทย มีมากมายหลายแบบ เป็นต้นเหตุที่นำไปสู่การทำการจัดการความรู้แบบเทียม และนำไปสู่ความ
ล้มเหลวในที่สุด เช่น ทำเพราะถูกบังคับตามข้อกำหนด กล่าวคือทำเพียงเพื่อให้ได้ชื่อว่าทำ หรือทำ
เพื่อชื่อเสียง ทำให้ภาพลักษณ์ขององค์กรดูดี หรือมาจากความต้องการผลงานของหน่วยย่อย
ภายในองค์กร เช่น หน่วยพัฒนาบุคลากร (HRD) หน่วยสื่อสารและสารสนเทศ (ICT) หรือหน่วยพัฒนา
องค์กร (OD) ต้องการใช้การจัดการความรู้ในการสร้างความเด่น หรือสร้างผลงานของตน หรืออาจมา
จากคนเพียงไม่กี่คน ที่ชอบของเล่นใหม่ๆ ชอบกิจกรรมที่ดูทันสมัย เป็นแฟชั่น แต่ไม่เข้าใจความหมาย
และวิธีการดำเนินการจัดการความรู้อย่างแท้จริงประเภทความรู้
ความรู้อาจแบ่งใหญ่ๆ ได้ ๒ ประเภท คือ
๑. ความรู้เด่นชัด (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่อยู่ในรูปแบบที่เป็นเอกสาร หรือ วิชาการ
อยู่ในตำราคู่มือปฏิบัติงาน
๒. ความรู้ซ่อนเร้น (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่แฝงอยู่ในตัวคน เป็นประสบการณ์ที่สั่งสม
มายาวนานเป็นภูมิปัญญา
โดยที่ความรู้ทั้ง ๒ ประเภทนี้มีวิธีการจัดการที่แตกต่างกับ
การจัดการ “ความรู้เด่นชัด” จะเน้นไปที่การเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอบ และตีความได้
เมื่อนำไปใช้แล้วเกิดความรู้ใหม่ ก็นำมาสรุปไว้ เพื่อใช้อ้างอิง หรือให้ผู้อื่นเข้าถึงได้ต่อไป
(ดูวงจรทางซ้ายในรูป)ส่วนการจัดการ “ความรู้ซ่อนเร้น” นั้นจะเน้นไปที่
การจัดเวทีเพื่อให้มีการแบ่งปันความรู้ที่อยู่ในตัวผู้ปฏิบัติ ทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน
อันนำไปสู่การสร้างความรู้ใหม่ ที่แต่ละคนสามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ต่อไป

เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง









เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน
ทั้งนี้จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

:: รายการวีดีโอทางทหาร ::
“ ทบ.ดวล ทอ.กลางอากาศ ”

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

13 ต้องรอด

กรมทหารพรานที่ 43 ขอส่งแรงใจจากใต้สุดสู่เหลือสุดสยามให้ทีมหมู่ป่ากลับบ้านสู่อ้อมกอดครอบครัวโดยเร็ว และเป็นกำลังใจให้กลับเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบ...